0
Cart: $0.00

เอกสารวิชาการเกี่ยวกับจิตรกรรมล้านนา

กลุ่มที่ 1 จิตรกรรมล้านนาสมัยราชวงศ์มังราย

 

2561

       - สุรชัย จงจิตงาม. (2561). ศิลปกรรมภายในวัดอุโมงค์สวนพุทธธรรม ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ในบริเวณวัดอุโมงค์สวนพุทธธรรม ประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และวิทยาศาสตร์ (น. 60–250). เชียงใหม่: หจก.วนิดาการพิมพ์.

       - ภาณุพงษ์ เลาหสม. (มีนาคม 2561). พระพุทธบาทไม้ประดับมุกวัดพระสิงห์: นวัตกรรมด้านศิลปะในช่วงล้านนายุคทอง. วารสารศิลป์ พีระศรี, 5(2), 206–234.

2557

       - อาสา ทองธรรมชาติ. (2557). ที่มาและพัฒนาการ ของลายดอกโบตั๋นในงานศิลปกรรมไทย. การค้นคว้าอิสระในหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

2556

       - ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2556). ศิลปะล้านนา. กรุงเทพฯ: มติชน.

       - สุรชัย จงจิตงาม. (2556). จิตรกรรมฝาผนังวัดอุโมงค์: การศึกษาศิลปกรรมล้านนาในเชิงบูรณาการ, ด้วยรัก เล่มที่ 8: ศาสนากับความเชื่อและสังคม รวมบทความในโอกาส ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา อายุ 72 ปี ,(น. 177–192). กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์.

2555

      - Virginia MeKeen Di Crocco. (2555). รอยพระบาทพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ในภัททกัปป์นี้ ตามกรอบคิดแบบสิงหล-สยาม. สมหวัง แก้วสุฟอง (ผู้แปล). กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์.

2552

      - อาทิตยา สืบมาแต่ปั้น. (2552). เปรียบเทียบพระบฏแสดงภาพพุทธประวัติในตอนเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ สมัยล้านนาและรัตนโกสินทร์. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

2549

      - สันติ เล็กสุขุม. (2549). ศิลปะภาคเหนือ: หริภุญชัย-ล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

      - สุรชัย จงจิตงาม. (เมษายน-มิถุนายน 2549). จิตรกรรมวัดอุโมงค์. เมืองโบราณ, 32(12), 32-38.

      - ปัทมา เอกม่วง. (2549). การเปรียบเทียบรูปแบบทางศิลปกรรมบนรอยพุทธบาทที่วัดศรีโคมคำ จังหวัดพะเยา และที่วัดตระพังทอง จังหวัดสุโขทัย. สารนิพนธ์หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะบัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

       - Skilling, Peter. (2549). “Pata (Phra Bot): Buddhist Closth Pianting of Thailand.” Buddhist Legacies In Mainland Southest Asia: Mentalities, Interpretations and Practices. (pp. 223–275). Bangkok: Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre.

2545

       - จารุณี  อินเฉิดฉาย. (ตุลาคม-ธันวาคม 2545). พระบฏ: พุทธศิลป์บนผืนผ้า. เมืองโบราณ. 28(4),51-61.

2542

       - สุรชัย จงจิตงาม. (ตุลาคม-ธันวาคม 2542). จิตรกรรมวัดอุโมงค์ ภาพล่าสุดจากคอมพิวเตอร์. เมืองโบราณ, 25(4), 79-87.

2541

       - สุรชัย จงจิตงาม. (ตุลาคม-ธันวาคม 2541). หน้าประวัติศาสตร์ที่หายไปของงานจิตรกรรมล้านนาที่วัดอุโมงค์. เมืองโบราณ, 24(4), 67-92.

       - ภาณุพงษ์ เลาหสม. (2541). จิตรกรรมฝาผนังล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

       - ฮันส์ เพนธ์, พรรณเพ็ญ เครือไทย, และ ศรีเลา เกษพรหม. (2541). ประชุมจารึกล้านนา เล่ม 2 จารึกพระเจ้ากาวิละ พ.ศ.2334-2357. (น. 35-52, 251-274). คลังข้อมูลจารึกล้านนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

2538

       - ภัทรุตม์ สายะเสวี. (2538). จิตกรรมฝาผนังวิหารวัดหลวงราชสัณฐาน. ใน สุจิตต์ วงษ์เทศ (บ.ก.), ประวัติศาสตร์สังคม และวัฒนธรรมเมืองพะเยา (น. 566-595). กรุงเทพฯ: มติชน.

2533

       - นันทนา ชุติวงค์. (2533). รอยพระพุทธบาทในศิลปะเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

2529

       - สน สีมาตรัง. (1-5 กุมภาพันธ์ 2529). วิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบงานจิตรกรรมฝาผนังลานนา. เอกสารการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ล้านนาคดีศึกษา: ศิลปกรรม”. จัดโดยวิทยาลัยครูเชียงใหม่. (เอกสารอัดสำเนา).

2519

       - Boisselier, Jean. (1976). Thai painting (trans. by Janet Seligman). Tokyo: Kodansha International.

2518

        - ฮันส์ เพนธ์. (มกราคม 2518). พระพุทธบาทที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเชียงใหม่. วารสารศิลปากร, 18(5), 49-55.

2517

      - Penth, Hans. (July 1974). A Note on the History of Wat Umong Thear Jan (Chiang Mai), Journal of the Siam Society, 2(62), (pp.269-274).

2503

       - ศิลป พีระศรี. (2503). พระบฏในกรุพระเจดีย์วัดดอกเงิน, สมบัติศิลปะจากบริเวณเขื่อนภูมิพล (น. 33-39). กรมศิลปากร.

กลุ่มที่ 2 จิตกรรมล้านนาสมัยพม่าปกครอง

 

2556

      - ชาญคณิต อาวรณ์. (2556). เวสสันดรชาดก: จิตรกรรมกับประวัติศาสตร์สังคมล้านนา. วิทยานิพนธ์ในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะไทย. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

      - ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2556). ศิลปะล้านนา. กรุงเทพฯ: มติชน.        

2555

      - สุรชัย จงจิตงาม. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555). วัดพระธาตุลำปางหลวง: บทเรียนกรณีล่าสุดของการอนุรักษ์ศิลปกรรมไทย. วิจิตรศิลป์ คณะวิจิตรศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 3(2), 263-296.

2552

      - ทศพร กนกวาณิชกุล. (2552). วัดพระบาทหัวเสือ: มณฑปและลายคำ ความสืบเนื่องทางศิลปกรรมจากยุคของล้านนา. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์สานศิลป์/โรงพิมพ์ธาราทอง.

2549

       - สันติ เล็กสุขุม. (2549). หริภุญไชย-ล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

2546

      - สลิลทิพย์ ตียาภรณ์. (2546). งานช่างไทใหญ่: กรณีศึกษางานจิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารวัดท่าข้าม อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

2544

       - สุรพล ดำริห์กุล. (2544). ลายคำล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

2540

      - จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา. (เมษายน-มิถุนายน 2540). ลายคำเสาวิหารพระพุทธ วัดพระพุทธลำปางหลวง. เมืองโบราณ, 23(2), 113-128.

      - ภาณุพงษ์ เลาหสม. (2540). จิตรกรรมฝาพนังล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

      - สุรพล ดำริห์กุล. (เมษายน-มิถุนายน 2540). สายคำประดับตกแต่งวิหารล้านนาช่วงก่อน พ.ศ. 2300. เมืองโบราณ, 23(2), 83-111.

2538

      - สันติ เล็กสุขุม. (2538). หริภุญไชย-ล้านนา: ศิลปะภาคเหนือ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

2533

     - สน สีมาตรัง. (ธันวาคม 2532–พฤษภาคม 2533). ภาพพระอดีตพุทธเจ้าเป็นบุคลาธิษฐานโลกทัศน์ล้านนาความเชื่อกฎแห่งกรรม. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 10(2), 77-107.

2528

     - สน สีมาตรัง. (กรกฎาคม-กันยายน 2528). ข้อคิดเห็นการศึกษาประวัติศาสตร์สังคมลานนาจากจิตรกรรมฝาผนังลานนา. เมืองโบราณ, 11(3), 39-60.

กลุ่มที่ 3 จิตรกรรมล้านนาสมัยเจ้าเจ็ดตน

2564

      - สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์. ม.ล. (2564). การศึกษาเปรียบเทียบภาพยันต์ที่ถ้ำโพวินต่าวง์ประเทศเมียนมากับยันต์พระสิหิงห์เชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

2560

      - ชาญคณิต อาวรณ์. (2560). วัดหลวงราชสัณฐาน: จิตรกรรมและโบราณวัตถุชิ้นสำคัญ. พะเยา:โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม. มหาวิทยาลัยพะเยา.

      - ชาญคณิต อาวรณ์. (2560). รายงานการวิจัยเรื่อง จิตรกรรมภาคเหนือตอนบน พ.ศ. 2475-2504: การวิจัยเพื่อค้นหาประเด็นใหม่ทางประวัติศาสตร์ศิลปะ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.).

      - ธัญญารัตน์ อภิวงค์. (มกราคม-มิถุนายน 2560). กลุ่มชาติพันธุ์จากพม่า และการสร้างความเป็นพม่าผ่านจิตรกรรมฝาผนังในล้านนา. วิจิตรศิลป์, 8(1), 23-59.

2559

      - ชาญคณิต อาวรณ์. (มกราคม-มิถุนายน 2559). การสร้างพื้นที่ทางสังคมของช่างไทใหญ่ผ่านการฉายภาพวรรณกรรม เรื่องบัวระวงศ์หงส์อามาตย์ในงานจิตรกรรมวัดสบลี. วิจิตรศิลป์, 7(1),

255-288.

2557

      - สมชาย เยี่ยงพฤกษาวัลย์ และ ศิริกร อิ่นคำ. (2557). รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาอัตลักษณ์ และ การอนุรักษ์จิตกรรมฝาผนังไทยแบบรัตนโกสินทร์ในจังหวัดลำปาง. ลำปาง: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

2556

      - ชาญคณิต อาวรณ์. (2556). จิตรกรรมสุภาษิตคำพังเพย วัดช้างเผือก นครลำปาง: สยามและล้านนาในกาลเวลาทางประวัติศาสตร์ศิลปะ. ใน ไพโรจน์ ไชยเมืองชื่น และ ภูเดช แสนสา (บ.ก.), หมุดหมายประวัติศาสตร์ล้านนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตะวันออก.

      - ชาญคณิต อาวรณ์. (2556). เวสสันดรชาดก: จิตรกรรมกับประวัติศาสตร์สังคมล้านนา. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะไทยบัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

      - พิชญ์ชาญ วงศาโรจน์. (กรกฎาคม-กันยายน 2556). พระบาทลังกา 4 รอย. เมืองโบราณ, 39(3), 153-162.

      - ศานติ ภักดีคำ. (ตุลาคม-ธันวาคม 2556). จิตรกรรมฝาผนังรามเกียรติ์อุโบสถวัดใหญ่เทพนิมิตรพระนครศรีอยุธยา. เมืองโบราณ, 39(4), 133-147.

      - Cristophe Munier-Gaillard. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2556). ความสัมพันธ์ระหว่างจิตรกรรมฝาผนังพม่ากับจิตรกรรมฝาผนังสยาม และล้านนาระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19. วิจิตรศิลป์, 4(2), 235-304.

2553

      - ทศพร กนกวาณิชกุล. (กรกฎาคม-กันยายน 2553). จิตรกรรมฝาผนัง เรื่องนิบาตชาดกที่วิหารวัดไหล่หิน. เมืองโบราณ, 36(3), 127-138.

2552

      - รัตติกาล สังข์ผึ้ง. (2552). ชาติพันธุ์ในล้านนาสมัยรัตนโกสินทร์: ศึกษาจากภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ และวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

      - วินัย ปราบริปู. (2552). พลานุภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์ในศิลปกรรมร่วมสมัยไทย, จิตรกรรมฝาผนังเมืองน่าน (น. 274-294). กรุงเทพฯ: หอศิลป์.

      - ศิรพงศ์ ศักดิ์สิทธิ์. (ตุลาคม-ธันวาคม 2552). วัดบ้านเกว๋น เมืองลา หลักฐานทางโบราณคดีที่มีชีวิต.เมืองโบราณ, 35(4).

2551

      - สุรชัย จงจิตงาม (บ.ก.). (2548-2550). รายงานการอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนังวัดบ้านก่อ อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง เล่ม 1: การปฏิบัติงานอนุรักษ์. คณะวิจิตศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดำเนินการโดยได้รับงานสนับสนุนจากกองทุนเอกอัครราชทูตเพื่อการอนุรักษ์ทางวัฒนธรรม สถานทูตสหรัฐอเมริกา ประจำประเทศไทย. จัดทำโดยคณะวิจิตศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

2550

      - กลุ่มหน่อศิลป์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2550). วัดบ้านก่อ: ช้างเผือกเมืองลำปาง. เชียงใหม่: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

2549

      - ภูมิใจ ศุภพฤกษพงศ์. (2549). จิตรกรรมฝาผนังอุโบสถวัดเกาะวาลุการาม จังหวัดลำปาง: ฝีมือศิษย์ฝีมือครู กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบถึงความสัมพันธ์กับจิตรกรรมฝาผนังอุโบสกวัดบุญวาทย์วิหาร จังหวัดลำปาง. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

2546

      - จิรศักดิ์ เดชวงค์ญา. (ตุลาคม-ธันวาคม 2546). จิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน การศึกษาครั้งล่าสุด. เมืองโบราณ, 29(4), 10-25.

2544

      - คลอดีน ทรีโมโล. (มกราคม-มีนาคม 2544). การค้นพบครั้งล่าสุดของจิตรกรรมฝาผนังวัดป่าแดด อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. เมืองโบราณ, 27(1), 48-59.

      - น.ณ ปากน้ำ. (2544). วัดบวกครกหลวง (ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย). กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.  

      - สุรพล ดำริห์กุล. (2544). ลายคำล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

2543

      - ชัยยศ อิษฎ์วรพันธ์ และ ภาณุพงษ์ เลาหสม. (2543). วิหารลายคำวัดพระสิงห์. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

      - ภาณุพงษ์ เลาหสม. (กรกฎาคม 2543). จิตรกรรมฝาผนังวิหารลายคำ, วิหารลายคำวัดพระสิงห์ สถาปัตยกรรมและจิตรกรรมฝาผนัง (น. 51-111). หจก. สำนักพิมพ์ตรัสวิน.

2540

      - ปาริสุทธิ์ สาริคะวณิช. (เมษายน-มิถุนายน 2540). จิตรกรรมบนแผงคอสองในวิหารหลวงวัดพระธาตุลำปางหลวง. เมืองโบราณ, 23(2), 46-68.

      - ภาณุพงษ์ เลาหสม. (เมษายน-มิถุนายน 2540). จิตรกรรมฝาผนังพื้นบ้านลำปาง. เมืองโบราณ, 23(2),27-45.

2539

      - วิถี พานิชพันธ์. (2539). จิตรกรรมเวียงต้า. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊ฟ จำกัด.

2538

       - ภาณุพงษ์ เลาหสม. (มกราคม-ธันวาคม 2538). สถานภาพการศึกษาจิตรกรรมฝาผนังเชียงใหม่.เมืองโบราณ, 21(1-4), 217-236.

2537

      - ลักขณา ปันวิชัย. (มิถุนายน 2537). จิตรกรรมวิหารลายคำ ภาพสะท้อนสังคมเชียงใหม่. ศิลปวัฒนธรรม, 15(8), 142-147.

      - ลักขณา ปันวิชัย. (3-5 มิถุนายน 2537). ลมหายใจของงานจิตกรรมฝาผนังล้านนา เอกสารการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง ศิลปวัฒนธรรมล้านนาจะอยู่รอดได้อย่างไรในสังคมไทยยุคใหม่.

จัดโดยภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (เอกสารสำเนา).

      - สุรสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์. (เมษายน-มิถุนายน 2537). จิตรกรรมฝาผนังวัดบ้านปง: หน้าประวัติศาสตร์สังคมล้านนาที่ขาดหายไป. วารสารเมืองโบราณ, 20(2), 38.

2536

       - ศักดิ์ รัตนชัย. (ตุลาคม 2536). รูปแต้มประวัติศาสตร์ ละครเข้ามาเมือง. ศิลปวัฒนธรรม, 14(12).

      - David K. Wyatt. (1993). Temple Murals as an Historical Source The Case of Wat Phumin, Nan (Chulalongkorn University Press and Thai Studies Section, Faculty of Arts, Chulalongkorn University).

2533

      - เฟื้อ หริพิทักษ์. (เมษายน-มิถุนายน 2533). จิตรกรรมฝาผนังวัดหลวงราชสัณฐาน จังหวัดพะเยา.วารสารเมืองโบราณ, 16(2), 96-105.

2530

      - ริถี พานิชพันธ์. (มกราคม-มีนาคม 2530). จิตรกรรมบนผืนผ้าที่รัดทุ่งคา อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง.จดหมายข่าวล้านนาคดีศึกษา, 2(1), 24-25.

2529

      - น.ณ ปากน้ำ และ แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. (2529). วัดภูมินทร์และวัดหนองบัว (ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย). กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

      - สุรสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์. (พฤษภาคม-สิงหาคม 2529). จิตรกรรมวัดกองแขกกับแนวทางการศึกษาจิตรกรรมล้านนา. จดหมายข่าวล้านนาคดีศึกษา, 1(2), 24-29.

      - สน สีมาตรัง. (1-5 กุมภาพันธ์ 2529). วิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบงานจิตรกรรมฝาผนังลานนา.เอกสารสัมมนาทางวิชาการ เรื่องลานนาคดีศึกษา: ศิลปกรรม. จัดทำโดยวิทยาลัยครูเชียงใหม่. (เอกสารคัดสำเนา).

      - สน สีมาตรัง. (22-24 สิงหาคม 2529). สถานภาพจิตรกรรมล้านนาศึกษา. เอกสารสัมมนาทางวิชาการเรื่องสถานภาพล้านนาคดีศึกษา. จัดทำโดยศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (เอกสารอัดสำเนา).

2528

      - สน สีมาตรัง. (กรกฎาคม-กันยายน 2528). ข้อคิดเห็นการศึกษาประวัติศาสตร์สังคมลานนาจากจิตรกรรมฝาผนังลานนา. เมืองโบราณ, 11(13), 38-64.

      - สมพงษ์ คันธสายบัว. (กรกฎาคม-กันยายน 2528). ภาพเขียนสีภายในวิหารน้ำแต้ม วัดพระธาตุลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง. เมืองโบราณ, 11(3), 109-114.

2526

      - วิยะดา ทองมิตร และ น.ณ ปากน้ำ. (2526). วัดพระสิงห์ (ชุดจิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย).กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

      - สน สีมาตรัง. (2526). โครงสร้างจิตรกรรมฝาผนังล้านนา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

      - สน สีมาตรัง. (2526). โครงสร้างจิตรกรรมฝาผนังลานนา สาระสังเขปฯ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. (เอกสารอัดสำเนา).

2523

      - สน สีมาตรัง. (26 มีนาคม 2523). จิตรกรรมฝาผนังวัดหนองบัว. หนังสือที่ระลึกในงานฌาปนกิจนายจงรัก พงศ์พิพัฒน์ และนางทิพย์ พงศ์พิพัฒน์ ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส.

ศิลปะล้านนาไทย. (น. 203-238).

2522

      - สน สีมาตรัง. (กรกฎาคม–ธันวาคม 2522). จิตรกรรมฝาผนังสกุลชาวไทยล้านนาในฐานะเป็นเพชรน้ำหนึ่งทางวงการจิตรกรรมฝาผนังไทยที่ถูกลืม. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 3(1), 42-59.         

2521

      - เพ็ญสุภา สุขคตะ ใจอินทร์ และ เพญจวรรณ พลประเสริฐ. (2521). ภาพพระบฏวัดพระยืน. (ม.ป.ท.). เอกสารอัดสำเนา.

      - สลิลทิพย์ ตียาภรณ์. (2521). งานช่างไทใหญ่: กรณีศึกษางานจิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารวัดท่าข้าม อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

      - สน สีมาตรัง. (ตุลาคม–พฤศจิกายน 2521). วิเคราะห์สีในจิตรกรรมฝาผนังเขตจังหวัดเชียงใหม่. เมืองโบราณ, 5(1), 38-70.

      - สน สีมาตรัง. (2521). จิตรกรรมฝาผนังวัดหนองบัว ศิลปะลานนาไทย. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์.

2502

      - ศิลป์ พีระศรี. (2502). วิวัฒนาการแห่งจิตรกรรมฝาผนังของไทย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

 

กลุ่มที่ 4 จิตรกรรมล้านนาสมัยใหม่เเละร่วมสมัย

 

2561

      - อัศวิณีย์ หวานจริง. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561). ศิลปกรรมกระจกสะท้อนวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่นบนผนังวิหารวัดท่าข้าม(ชัยชนะ) อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจิตรศิลป์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9(2), 190-237.

2555

      - เซบาสเตียน ตา-ยาค. (มกราคม-มิถุนายน 2555). ศิลปะแนวแอนติมิสต์: ช่วงเวลาในการเปลี่ยนผ่านจากวัฒนธรรมดั้งเดิมในจิตรกรรมล้านนาสู่รูปแบบอิทธิพลของภาพพิมพ์จากกรุงเทพมหานคร. วิจิตรศิลป์, 3(1), 155-189.

+